บทเรียนวิชาชีววิทยา

เนื้อหาบทเรียนชีววิทยาระดับชั้นมัธยมสึกาาตอนปลาย(ม.4,ม.5,ม.6)

บทเรียนชีววิทยา ม.4,ม.5และม.6จัดทำเพือประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในห้องเรียนของนักเรียนและเนื้อหาชีววิทยาที่นำมาใส่ส่วนหนึ่งได้มาจากการสืบค้นในInternetที่เผยแพร่ได้ โดยนำมาปรับให้เหมาะสมกับเนื้อหาชีววิทยาที่ใช้ในการเรียนการสอน โดยนักเรียนสามารถศึกษาด้วยตนเองตามความสนใจเพื่อพัฒนาตนเองในยามว่าง เพื่อทบทวนเนื้อหาให้เข้าใจมากขึ้น

บทเรียนชีววิทยา ม.4เทอม2

หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางชีววิทยา

บทที่1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 1.1 สิ่งมีชีวิตคืออะไร
1.2 การศึกษาชีววิทยา
1.3 ชีววิทยากับการดำรงชีวิต
1.4 ชีวจริยธรรม

บทที่ 2 การศึกษาชีววิทยา
2.1 การศึกษาชีววิทยา
2.2 กล้องจุลทรรศน์

บทที่ 3 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
3.1 สารอนินทรีย์
3.2 สารอินทรีย์
3.3 ปฏิกิริยาในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต

บทที่ 4 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 4.1 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
4.2 โครงสร้างของเซลล์ที่ศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์
4.3 การรักษาดุลยภาพของเซลล์
4.4 การสื่อสารระหว่างเซลล์
4.5 การแบ่งเซลล์

น่วยที่ 2 การรักษาดุลยภาพของร่างกายมนุษย์และสัตว์

บทที่ 5 ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน

5.1 อาหารและการย่อยอาหาร
5.2 การสลายสารอาหารระดับเซลล์

บทที่ 6 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย

6.1 ระบบการหายใจกับการรักษาดุลยภาพของร่างกาย
6.2 ระบบขับถ่ายกับการรักษาดุลยภาพของร่างกาย
6.3 ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบน้ำเหลือง กับการรักษาดุลยภาพของร่างกาย

บทเรียนชีววิทยา ม.5เทอม1

หน่วยที่ 3 การประสานงานในร่างกายและการสืบพันธุ์ของมนุษย์และสัตว์ 

บทที่ 7 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต

7.1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
7.2 การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
7.3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง

บทที่ 8 การรับรู้และการตอบสนอง

8.1 การรับรู้และการตอบสนอง
8.2 เซลล์ประสาท
8.3 การทำงานของเซลล์ประสาท
8.4 ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
8.5 การทำงานของระบบประสาท
8.6 อวัยวะรับความรู้สึก

บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ

9.1 ต่อมไร้ท่อ
9.2 ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
9.3 การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
9.4 ฟีโรโมน

บทที่ 10 พฤติกรรมของสัตว์

10.1 กลไกการเกิดพฤติกรรมของสัตว์
10.2 ประเภทของพฤติกรรม
10.3 ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมกับพัฒนาการของระบบประสาท
10.4 การสื่อสารระหว่างสัตว์

บทที่ 11 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต

11.1 การสืบพันธุ์
11.2 การเจริญเติบโตของสัตว์

บทเรียนชีววิทยา ม.5เทอม2

หน่วยที่ 4 การดำรงชีวิตของพืช

12.1 โครงสร้างและหน้าที่ของราก
12.2 โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
12.3 โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
12.4 การคายน้ำของพืช
12.5 การลำเลียงน้ำของพืช
12.6 การลำเลียงธาตุอาหารของพืช

บทที่ 13 การสังเคราะห์แสง

13.1 การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์แสง
13.2 กระบวนการสังเคราะห์แสง
13.3 โฟโตเรสไพเรชัน
13.4 กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในพืช C4และพืชCAM
13.5 ปัจจัยบางประการที่มีผลต่ออัตราการสังเคราะห์แสง
13.6 การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง

บทที่ 14 การสืบพันธุ์ของพืชดอก

14.1 การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอก
14.2 การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชดอกและการขยายพันธุ์พืช
14.3 การวัดการเจริญเติบโตของพืช

บทที่ 15 การตอบสนองของพืช

15.1 สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
15.2 การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม

บทเรียนชีววิทยา ม.6 เทอม 1

หน่วยที่ 5 พันธุศาสตร์

บทที่ 16 การค้นพบกฎการถ่ายทอดทางพันธุกรรม

16.1 การศึกษาพันธุกรรมของเมนเดล
16.2 ความน่าจะเป็นและกฎแห่งการแยกตัว
16.3 กฎแห่งการรวมกลุ่มอย่างอิสระ
16.4 การผสมเพื่อทดสอบ
16.5 ลักษณะทางพันธุกรรมที่นอกเหนือจากกฎของเมนเดล

บทที่ 17 ยีนและโครโมโซม

17.1 การถ่ายทอดยีนและโครโมโซม
17.2 การค้นพบสารพันธุกรรม
17.3 โครโมโซม
17.4 องค์ประกอบทางเคมีของ DNA
17.5 โครงสร้างของ  DNA
17.6 สมบัติของสารพันธุกรรม
17.7 มิวเทชัน

บทที่ 18 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง DNA

18.1 พันธุวิศวกรรม
18.2 การโคลนยีน
18.3 การวิเคราะห์ DNA และการศึกษาจีโนม
18.4 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีของ DNA
18.5 ความปลอดภัยของเทคโนโลยีทาง DNA และมุมมองทางสังคมและจริยธรรม

หน่วยที่ 6 วิวัฒนาการ

บทที่ 19 วิวัฒนาการ

19.1 หลักฐานที่บ่งบอกถึงวิวัฒนาการ
19.2 แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
19.3 พันธุศาสตร์ประชากร
19.4 ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีล
19.5 กำเนิดของสปีชีส์

บทเรียนชีววิยา ม.6 เทอม 2

หน่วยที่ 7 ความหลากหลายทางชีวภาพ

บทที่ 20 ความหลากหลายทางชีวภาพ

20.1 ความหลากหลายทางชีวภาพ
20.2 การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ
20.3 กำเนิดของชีวิต
20.4 อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
20.5 ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย
20.6 การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ

หน่วยที่ 8 นิเวศวิทยา

บทที่ 21 ระบบนิเวศ

21.1 ความหลากหลายของระบบนิเวศ
21.2 ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
21.3 การถ่ายทอดพลังงานและการหมุนเวียนวัฏจักรสารในระบบนิเวศ
21.4 การเปลี่ยนแปลงแทนที่ของระบบนิเวศ

บทที่ 22 ประชากร

22.1 ความหนาแน่นของประชากร
22.2 ขนาดประชากร
22.3 แบบแผนการเจริญเติบโตของประชากร
22.4 แบบแผนการมีชีวิตอยู่รอดของประชากร
22.5 ประชากรมนุษย์

บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม

23.1 ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ
23.2 การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ ปัญหาและการจัดการ
23.3 หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
23.4 ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศ

*****************************************************************

 

 

Advertisement